-------------------------------------------
-------------------------------------------
   
1.1 มีการรับรองสิทธิของผู้บริโภคไทยในกฎหมายโดยมีมาตรฐานเดียวกับสิทธิผู้บริโภคสากล
1.2 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภค
1.3 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง
  -------------------------------------------------------------------------------------
2.1 จำนวนรายการสินค้าและบริการที่ไม่ปลอดภัยที่เผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์
2.2 จำนวนผู้บริโภคที่เสียหายจากการบริโภคสินค้ และบริการที่ไม่ปลอดภัย
  -------------------------------------------------------------------------------------
3.1 ร้อยละของประชากรที่รับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
3.2 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมการบริโภคอย่างถูกต้อง
3.3 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมการปกป้องสิทธิผู้บริโภค
-------------------------------------------
-------------------------------------------
   
4.1 รัฐบาลมีการกำหนดนโยบายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
4.2 มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา
  -------------------------------------------------------------------------------------
5.1 ร้อยละของสถาน ประกอบการที่จัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
  -------------------------------------------------------------------------------------
6.1 หน่วยงานภาครัฐทำหน้าที่ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคครอบคลุมทุกมิติ
6.2 มีการจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค
6.3 ร้อยละของจังหวัดที่มีองค์กรผู้บริโภคโดย ประชาชนมีส่วนร่วมเป็นแกนหลัก
   
-------------------------------------------
   
7.1 ร้อยละขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นงานคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ในแผนปฏิบัติการ
7.2 ร้อยละขององค์กรภาคประชาชนที่มีภารกิจเฝ้าระวัง
  -------------------------------------------------------------------------------------
8.1 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนของผู้บริโภคที่หน่วยงานภาครัฐมีการแก้ปัญหาภายในเวลาที่กำหนด
8.2 จำนวนคดีผู้บริโภคที่ใช้กลไกของพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
8.3 จำนวนคดีที่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเป็นตัวแทนผู้บริโภคในการ ดำเนินการฟ้องและดำเนินคดีแทนตามกฎหมาย
8.4 มีการจัดตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายแก่ผู้บริโภค
   
   
 

 

-------------------------------------------
   
9.1 ร้อยละของผู้ประกอบการที่มีการดำเนินการได้ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด
9.2 ร้อยละของกลุ่มผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพที่มีการบังคับใช้ตามมาตรฐาน
9.3 ร้อยละของสารปนเปื้อนในอาหารสด
9.4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดมาตรฐานในฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
   
  -------------------------------------------------------------------------------------
10.1 จำนวนผู้ประกอบการที่มีการกำหนดระบบป้องกันและเยียวยาความเสียหายที่เกิด จากการประกอบธุรกิจโดยเร็ว
   
   
 

 
-------------------------------------------
   
11.1 มีรายงานข้อมูลเปรียบเทียบคุณภาพของสินค้าและบริการโดยองค์กรที่ ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย
11.2 จำนวนรายการคุ้มครองผู้บริโภคที่นำเสนอทางสถานีโทรทัศน์
11.3 มีกฎหมายและมาตรการที่ใช้ในการควบคุมการส่งเสริมการขาย และการ โฆษณายาและอาหาร
   
  -------------------------------------------------------------------------------------
   
12.1 จำนวนบทความที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในหนังสือพิมพ์
12.2 จำนวนเรื่องที่ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับการกระทำความผิดโฆษณา
 
Copyright © 2008 Health Consumer Protection Program
แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
อาคารนวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ ชั้น 2 คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
หมายเลขโทรศัพท์ 02-218-8445,Fax 02-251-3531