องค์ประกอบ : สถานะผู้บริโภค
  1. สิทธิผู้บริโภคและศักยภาพของผู้บริโภค
       1.1 มีการรับรองสิทธิของผู้บริโภคไทยในกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง ผู้บริโภคโดยมีมาตรฐานเดียวกับสิทธิผู้บริโภคสากล
       1.2 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภค
       1.3 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง
  2. ผลกระทบจากการบริโภค
        2.1 จำนวนรายการสินค้าและบริการที่ไม่ปลอดภัยที่เผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์
        2.2 จำนวน ผู้ บริโภค ที่ เสีย หาย (เสีย ชีวิต หรือ เจ็บ ป่วย) จาก การ บริโภค สินค้า และบริการ ที่ ไม่ ปลอดภัย
  3. พฤติกรรมการบริโภค
        3.1 ร้อยละของประชากรที่รับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
        3.2 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพอย่างถูกต้อง
        3.3 ร้อยละของผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมการปกป้องสิทธิผู้บริโภค เมื่อพบปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์
 
     
 
  องค์ประกอบ : นโยบาย กฏหมาย และ องค์กรคุ้มครองผู้บริโภค
  4. นโยบายและกฏหมายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
        4.1 รัฐบาลมีการกำหนดนโยบายด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
        4.2 มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา
  5. การส่งเสริมการบริโภคที่ยั่งยืน
        5.1 ร้อย ละ ของ สถาน ประกอบ การ ที่ จัดการ ทรัพยากร สิ่ง แวดล้อม และ ความ ปลอดภัย ใช้ ทรัพยากร อย่าง คุ้ม ค่า มี ประสิทธิภาพ และ ผลิต ภาพ สูง ขึ้น
  6. องค์กรด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
        6.1 หน่วยงานภาครัฐทำหน้าที่ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคครอบคลุมทุกมิติ
        6.2 มีการจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค
        6.3 ร้อย ละ ของ จังหวัด ที่ มี องค์กร ผู้ บริโภค ซึ่ง ดำเนิน การ โดย ประชาชน มี ส่วน ร่วมเป็น แกน หลัก
 
     
 
  องค์ประกอบ : กลไกการคุ้มครองผู้บริโภค
  7. การเผ้าระวังและจัดการอัยตราย ของสินค้า/บริการ
        7.1 ร้อยละขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบูรณาการงานคุ้มครอง ผู้บริโภคไว้ในแผนปฏิบัติการ
        7.2 ร้อยละขององค์กรภาคประชาชนที่มีภารกิจเฝ้าระวังและตรวจสอบสินค้า/ บริการ
  8. การร้องเรียนและการชดเชยเยียวยาความเสียหาย
        8.1 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนของผู้บริโภคที่หน่วยงานภาครัฐมีการแก้ปัญหาภายในเวลาที่กำหนด
        8.2 จำนวนคดีผู้บริโภคที่ใช้กลไกของพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
        8.3 จำนวนคดีที่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเป็นตัวแทนผู้บริโภคในการ ดำเนินการฟ้องและดำเนินคดีแทนตามกฎหมาย
        8.4 มีการจัดตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายแก่ผู้บริโภค
 
     
 
  องค์ประกอบ :คุณภาพสินค้า/บริการและความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ
  9. คุณภาพของสินค้าและบริการ
        9.1 ร้อยละของผู้ประกอบการที่มีการดำเนินการได้ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด
        9.2 ร้อยละของกลุ่มผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพที่มีการบังคับใช้มาตรฐานการผลิตและมาตรฐานบริการด้านสุขภาพ
        9.3 ร้อยละของสารปนเปื้อนในอาหารสด
        9.4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดมาตรฐานในฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
  10. ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ
        10.1 จำนวนผู้ประกอบการที่มีการกำหนดระบบป้องกันและเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการประกอบธุรกิจโดยเร็ว
 
     
 
  องค์ประกอบ :ข้อมูลข่าวสารในการคุ้มครองผู้บริโภค
  11. ข้อมูลข่าวสารสู่ผู้บริโภค
         11.1 มีรายงานข้อมูลเปรียบเทียบคุณภาพของสินค้าและบริการโดยองค์กรที่ ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย
         11.2 จำนวนรายการคุ้มครองผู้บริโภคที่นำเสนอทางสถานีโทรทัศน์
         11.3 มีกฎหมายและมาตรการที่ใช้ในการควบคุมการส่งเสริมการขายและการ โฆษณายาและอาหาร
  12. สื่อสารมวลชนกับการคุ้มครองผู้บริโภค และการโฆษณา
          12.1 จำนวนบทความที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในหนังสือพิมพ์
          12.2 จำนวนเรื่องที่ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับการกระทำความผิดโฆษณา
 
     
 
Copyright © 2008 Health Consumer Protection Program
แผนงานพัฒนาวิชาการและกลไกคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
อาคารนวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ ชั้น 2 คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
หมายเลขโทรศัพท์ 02-218-8445,Fax 02-251-3531